การทำ เชื้อเห็ดฟาง
การทำ เชื้อเห็ดฟาง
เรียบเรียงโดย : อัมพร นันทธีโร
สำ นักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
!!ขั้นตอนการทำ เชื้อเห็ดฟาง
-! ขั้นตอนการเตรียมเชื้อเห็ดฟางบริสุทธิ์
-! การตรวจสอบลักษณะเส้นใยเห็ดฟางบนอาหารวุ้น พีดีเอ.
!!ขั้นตอนการผลิตเชื้อเห็ดฟาง
-! การเตรียมปุ๋ยหมัก
-! การปลูกเชื้อเห็ดฟางลงบนปุ๋ยหมัก
!!เชื้อเห็ดฟางที่มีลักษณะดี
!!ปัญหาที่พบเสมอในการทำ เชื้อเห็ดฟาง
สารบัญ
จดั ทา ํ เอกสารอิเล็กทรอนิกส์โดย :
สำ นักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การทำ เชื้อเห็ดฟาง 2
คำ นำ
เกษตรกรเป็นจำ นวนมากประสบความสำ เร็จในการเพาะดอกเห็ดฟางขาย เนื่องจากมีความรู้และ
ประสบการณ์ที่ถูกต้องและเหมาะสม แต่ก็มีเกษตรกรจำ นวนมากอีกเช่นกัน ที่เพาะเห็ดฟางขายและขาดทุน
สาเหตุใหญ่ที่ทำ ให้ไม่ได้กำ ไรนั้นมักเกิดจากการนำ เชื้อเห็ดฟางคชุณภาพไม่ดีมาเพาะ
การซื้อเชื้อเห็ดคุณภาพดี ไม่มีจุลลินทรีย์อื่นปนเปื้อน ให้ผลผลิตสูง และได้กำ ไรดีนั้น จะเป็นหน้าที่ของ
ผู้เพาะดอกเห็ดต้องจำ เองว่า บริษัทหรือห้างร้านใดที่ผลิตเห็ดคุณภาพดี ก็จะซื้อเชื้อเห็ดฟางจากที่เมมาเพาะอยู่
เป็นประจำ แต่บางครั้งเชื้อเห็ดจากร้านเดียวกันคุณภาพกลับไม่สมํ่าเสมอก็มี ปัญหาเช่นนี้ทำ ให้ผู้เพาะดอกเห็ด
ขายหันมาสนใจที่จะผลิตเชื้อเห็ดฟางเอง ถึงแม้ว่าการทำ เชื้อเห็ดฟางจะต้องใช้เงินทุนสูง ประกอบกับต้องใช้
ความรู้ ประสบการณ์ และความเอาใจใส่เป็นอย่างมาก ถ้าทำ ได้สำ เร็จจะให้ผลตอบแทนสูงกว่าการเพาะดอก
เห็ดขาย
เนื่องจากการทำ เชื้อเห็ดฟางต้องใช้ทุนสูง ดังนั้นก่อนจะตัดสินใจลงทุน ควรจะได้ศึกษาหาความรู้จากผู้
มีประสบการณ์ให้พร้อม ตลอดจนศึกษาเรื่องตลาดและความเป็นไปได้ในการส่งเชื้อเห็ดฟางขายให้ผู้เพาะดอก
เห็ดในละวแกใกล้เคียงด้วย
เพื่อเป็นการสนับสนุนเกษตรกรและผู้สนใจในการเพาะเห็ดฟางจำ หน่ายหรือใช้เองก็ตาม ฝ่ายส่งเสริม
และเผยแพร่จึงได้มอบให้นางอัมพร นันทธีโร เรียบเรียงเอกสารเผยแพร่เรื่อง การทำ เชื้อเห็ดฟางขึ้นเพื่อให้
เกษตรกรและผู้สนใจใช้เป็นแนวทางปฏิบัติ
อย่างไรก็ตาม ผู้ที่นำ ไปใช้ประสบปัญหาอย่างใดแล้ว โปรดจดหมายไปยัง ฝ่ายส่งเสริมและเผยแพร่
สำ นักงานส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน รหัสไปรษณีย์ 10903 ฝ่ายส่งเสริม
และเผยแพร่ ยินดีให้คำ แนะนำ ด้วยความเต็มใจยิ่ง
ท้ายที่สุดนี้ ฝ่ายส่งเสริมและเผยแพร ่ใครข่อขอบพระคณุ อาจารยด์ พี รอ้ม ไชยวงศ์เกียรติ และอาจารย์
สุเทพ ญาดี ที่ได้ตรวจแก้เอกสารเรื่อง "การทำ เชื้อเห็ดฟาง" เล่มนี้
ฝ่ายส่งเสริมและเผยแพร่
สำ นักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน กทม. 10903
การทำ เชื้อเห็ดฟาง 3
การทำ เชื้อเห็ดฟาง
เรียบเรียงโดย… อัมพร นันทธีโร1
ขั้นตอนการทำ เชื้อเห็ดฟาง
การทำ เชื้อเห็ดฟาง ควรปฏิบัติตามขั้นตอน ดังนี้
1. ขั้นตอนการเตรียมเชื้อเห็ดฟางบริสุทธิ์
1.1!เตรียมอาหารวุ้น พีดีเอ.
1.2!ตัดเนื้อเยื่อจากดอกเห็ดลงอาหารวุ้น พีดีเอ.
2. ขั้นตอนการผลิตเชื้อเห็ดฟาง
2.1 การเตรียมปุ๋ยหมัก (วัสดุหมักสำ หรับปลูกเชื้อเห็ด)
2.2 การปลูกเชื้อเห็ดฟ่างลงบนปุ๋ยหมัก
1. ขั้นตอนการเตรียมเชื้อเห็ดฟางบริสุทธิ์
1.1 เตรียมอาหารวุ้น พีดีเอ.
ส่วนผสม
มันฝรั่ง 200 กรัม
นํ้าตาลเด็กซ์โตส (เช่น นํ้าตาลเด็กซ์โตส,
เด็กซ์โตซาน หรือกลูโคลิน 20 กรัม
วุ้นผง 20 กรัม
นํ้าสะอาด 1 ลิตร (1 กิโลกรัม)
วิธีทำ
- ปอกเปลือกมันฝรั่ง ล้างนํ้า แล้วหั่นเป็นชิ้นสี่เหลี่ยมขนาดลูกเต๋า ชั่งนํ้าหนัก 200 กรัม
- ตวงนํ้า 1 ลิตรใส่หม้อ ใส่มันฝรั่งต้มลงไป ต้มให้เดือด เมื่อเดือดแล้วลดไฟลงอย่าให้เดือดพล่าน
ให้จับเวลาตั้งแต่ลดไฟลงนาน 15 นาที แล้วกรองเอาแต่นํ้าต้มมันฝรั่ง
- ละลายวุ้นผงกับนํ้าเย็นเล็กน้อย เทใส่ในหม้อนํ้าต้มมันฝรั่ง แล้วยกตั้งตั้งไฟ คนตลอดเวลานาน
10 นาที (หรือวุ้นละลายหมด)
- ตงนํ้าต้มมันฝรั่งกับวุ้นให้ได้ 1 ลิตร ถ้าขาดไปให้เติมนํ้าร้อนจนครบ
- ยกขึ้นตั้งไฟอ่อนๆ เติมนํ้าตาลลงไป คนให้ละลายแล้วยกลงจากเตา (ไม่ต้องรอให้เดือด) ก็จะให้
อาหารวุ้น พีดีเอ.
- เอาขวดเหล้าแบนที่ล้างจนสะอาดดีและตากแดดให้แห้งดีแล้ว เทอาหารวุ้นพีดีเอ. ลงไปให้สูง
จากก้นขวดประมาณ 1 ใน 6 (ระวังอย่าให้วุ้นเลอะปากขวด)
- พับสำ ลีอุดปากขวด (อย่าพับสำ ลีหลวมหรือแน่นเกินไป)
- ตัดกระดาษเป็นรูปสี่เหลี่ยม ปิดทับสำ ลีอีกทางหนึ่ง แล้วใช้ยางวงรัดไว้
- นำ ไปนึ่งฆ่าเชื้อโรคโดยใช้หม้อนึ่งความดัน
การทำ เชื้อเห็ดฟาง 4
อาหารวุ้น พีดีเอ. ที่กรอกใส่ในขวดเหล้าแบนนี้ จะมีเชื้อจุลินทรีย์และสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ปะปนอยู่มาก
มายหลายชนิด เชื้อจุลินทรีย์และสิ่งมีชีวิตเหล่านี้ไม่สามารถมองเห็นด้วยตา ต่อเมื่อมันเจริญเติบโตแล้วจึงมอง
เห็นสิ่งปนเปื้อนเหล่านี้อยู่บนอาหารวุ้นพีดีเอ. ถ้าไม่ฆ่าเชื้อจุลินทรีย์และสิ่งมีชีวิตเหล่านี้ให้ตายหมดปราศจาก
เชื้อใด ๆ ด้วยหม้อนึ่งความดันในภาพนี้แล้ว การปฏิบัติจะล้มเหลว เพราะเมื่อถึงขั้นตอนตัดเนื้อเยื่อจากดอก
เห็ดลงในอาหารวุ้น พีดีเอ. (ขั้นตอนที่ 1.2) จะมีเชื้ออื่น ๆ เจริญแข่งขันกับเส้นใยเห็ดฟาง จะนำ เชื้อเห็ดฟางนี้
ไปใช้ไม่ได้
วิธีการใช้หม้อนึ่งความดัน
- ใส่นํ้าที่หม้อชั้นในให้ท่วมตระแกรงลวด ประมาณปริ่มหลังมือ (สูงประมาณ 1 ซ.ม. จากก้น)
- เรียงขวดเหล้าแบนที่มีอาหาร พีดีเอ.บรรจุแล้วปิดฝา ดูลูกศรที่ริมฝาให้ตรงกับรอยขีดที่ตัวหม้อ หมุน
น๊อตสำ หรับกดฝาให้แน่นติดตัวหม้อที่ละคู่ โดยเลือกน๊อตที่มีทิศตรงกันข้ามซึ่งกันและกัน หมุนเกลียวน๊อตปิด
ด้วยแรงเท่า ๆ กัน
- ยกขึ้นตั้งไฟแรงเต็มที่ พร้อมกับเปิดลิ้นระบายอากาศเพื่อไล่อากาศภายในหม้อนึ่งออก เมื่อนํ้าเริ่ม
เดือด จะเห็นอากาศพุ่งออกมาพร้อมกับไอนํ้า เสียงดังไม่สมํ่าเสมอกัน แสดงว่าได้ไล่อากาศภายในหม้อนึ่งออก
หมดแล้ว จากนั้นจึงปิดฝาลิ้นระบายอากาศ
- หลังจากปิดฝาลิ้นระบายอากาศแล้ว จะเห็นเข็มวัดความดันเริ่มเคลื่อนให้รอจนเข็มวัดความดันชีไป
ที่เลข 15 หรือมากกว่าเล็กน้อย จึงลดไฟให้เป็นไฟปานกลาง หลังจากลดไฟลงแล้วถ้ายังไม่ปรากฎว่าความดัน
ยังเพิ่มขึ้นอยู่ก็ให้ลดไฟลงอีกได้ โดยให้ความดันคงที่อยู่ที่ 15 หรือมากกว่าเล็กน้อย แล้วจับเวลา 20 นาที จึง
เปิดไฟ ความดันภายในจะลดลงเอง จนถึงเลขศูนย์แล้วปิดฝาหม้อนึ่ง เอาขวดอาหาร พีดีเอ. วางเอียงพิงไม้ ให้
ปากขวดสูงจากพื้น 2-3 เซนติเมตร รอจนวุ่นแข็งกฎนำ มาใช้ได้
จากการตรวจสอบพบว่า ถ้าความดันในหม้อนึ่งวัดได้ 15 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว อุณหภูมิจะร้อนถึง 121
องศาเซลเซียส และถ้าใช้เวลานาน 20 นาที จะสามารถฆ่าเชื้อจุลินทรีย์และสิ่งมีชีวิตในอาหาร พีดีเอ. ให้ตาย
หมด ปราศจากเชื้อใด ๆ เหลืออยู่ ในระหว่างจับเวลาอยู่นี้ หากเข็มวัดความดันตํ่าลงกว่าเลข 15 ต้องเริ่มต้น
ทำ ขั้นตอนแรกอีก ต้องคอยดูแลควบคุมอย่างใกล้ชิดตลอดเวลา
1.2 การแยกเนื้อเยื่อจากดอกเห็ดลงอาหารวุ้น พีดีเอ.
เก็บดอกเห็ดฟางที่ยังตูมอยู่จากแปลงเพาะ เลือกดอกเห็ดลักษณะดีขนาดใหญ่ นํ้าหนักมาก เนื้อ
แน่น อย่าให้มีรอยแมลง และโรคเข้าทำ ลาย
การทำ เชื้อเห็ดฟาง 5
นำ อุปกรณ์ที่ใช้คือ เข็มเขี่ย ตะเกียงแอลกอฮอล์ แอลกอฮอล์ 70% สำ หรับเช็ดมือ, มีด, ดอกเห็ดสด,
อาหารวุ้น พีดีเอ. ในขวดเหล้าแบนที่ฆ่าเชื้อแล้ว
นำ วัสดุและอุปกรณ์ทุกอย่างเข้าไปในตู้เขี่ยเชื้อทำ ความสะอาดภายในตู้แล้ว จะแดพ่นด้วยแอลกอฮอล์
70% หรือใช้แสงอุลตร้าไวโอเลต (ยูวี) ไว้ล่วงหน้าก่อนใช้ประมาณ 30 นาที
วิธีทำ
- เช็ดมือด้วยแอลกอฮล์ 70%
- ก,ข ตัดแต่งดอกเห็ด
- ค เอามีดจุ่มแอลกอฮอล์ 70% ลนไฟ พอมีดเย็นแล้วจึงผ่าดอกเห็ดเล็กน้อย
- ง,จ ใช้มือแดดอกเห็ดออกเป็น 2 ส่วน (แบ่งตามยาวของดอกเห็ด)
มือซ้ายถือดอกเห็ด
- เช็ดมือด้วยแอลกอฮอล์ 70% มือซ้ายจับดอกเห็ด มือขวาหยิบเข็มเขี่ยมาลนไฟจนส่วนที่เป็นเข็ม
ร้อนแดง เลื่อนด้านจับผ่านเปลวไฟจนถึงมือ แล้วปล่อยให้เข็มเย็น (ถือไว้ประมาณ 15 นาที) แล้วใช้เข็มนี้ตัด
การทำ เชื้อเห็ดฟาง 6
เนื้อเยื่อเห็ดโดยตัดตามหมายเลขที่ 1,2,3 4 ตามลำ ดับ ดังในภาพ ใช้เข็มเขี่ยเกี่ยวชิ้นเนื้อเยื่อขึ้นมา เป็นขั้นที่
5
การตัดเนื้อเยื่อจากดอกเห็ด
- วางดอกเห็ดลง แล้วหยิบขวดอาหารเลี้ยงเชื้อ พีดีเอ.ขึ้นมา (ซึ่งดึงยางวงและแกะกระดาษออกเตรียม
ไว้ก่อนแล้ว)
- ใช้นิ้วนางและนิ้วก้อย (มือที่ถือเข็มเขี่ยเชื้อยังไม่มีเนื้อเยื่อเห็ดติดอยู่) หมุนดึงสำ ลีออกจากปากขวด
แล้วลนปากขวดฆ่าเชื้อทันที (ระวังสำ ลีไหม้ไฟ) ค่อย ๆ สอดเข็มเขี่ยเชื้อที่มีเนื้อเยื่อเห็ดเข้าในขวดอาหาร พีดีเอ
- วางเนื้อเยื่อดอกเห็ดบนอาหารวุ้น พีดีเอ ตรงกลางแล้วลนปากขวดอีกครั้ง จึงปิดจุกสำ ลี (ระวังอย่า
ให้เนื้อเยื่อเห็ดถูกปากขวด) จุกสำ ลีต้องไม่สัมผัสส่วนใด ๆ ทั้งสิ้น
- ปิดกระดาษ และรัดด้วยยางวง เก็บไว้นาน 6-7 วันจะเห็นเส้นใยสีขาวเจริญเต็มบนวุ้น พีดีเอ
วางเนื้อเยื่อเห็ดลงบนอาหารวุ้น
ขั้นตอนการตัดเนื้อเยื่อดอกเห็ดบนอาหารวุ้นนี้ จะต้องทำ อย่างระมัดระวังและรวดเร็ว ไม่เช่นนั้นแล้
วจะมีเชื้อจุลินทรีย์อื่น ๆ ปนเปื้อน เชื้อเห็ดฟางได้ มีวิธีการคัดเลือกเส้นในเห็ดฟางที่บริสุทธิ์คือ ภายใน 3-4
วันจะเห็นว่ามีเส้นใยเห็ดเริ่มเจริญรอบ ๆ เนื้อเยื่อเป็นสีขาว แต่ถ้าพบมีเชื้อราหรือแบคทีเรียซึ่งจะเห็นว่ามี
ลักษณะแปลกออกไป เจริญบนผิวหน้าวุ้นด้วย เชื้อเห็ดขวดนั้นถือว่าไม่บริสุทธิ์คือ ไม่ควรนำ ไปใช้ ในการทำ
ครั้งหนึ่ง ๆ ควรทำ ไว้หลาย ๆ ขวด เพื่อโอกาสที่จะได้เชื้อบริสุทธิ์มีมากขึ้น เพราะขั้นตอนนี้ต้องทำ ด้วยความระ
วัดระวังมาก และมักจะมีเชื้อชนิดอื่นขึ้นปนเปื้อนเสมอ เมื่อได้รับเชื้อบริสุทธิ์แล้ว ควรขยายเชื้อเก็บสำ รองไว้
การทำ เชื้อเห็ดฟาง 7
เพื่อใช้ในโอกาสต่อไป โดยการตัดวุ้นที่มีเส้นใยเห็ดจากขวดนี้ไปวางบนอาหารวุ้น พีดีเอ ขวดอื่นแล้วเก็บไว้ 6-
7 วัน เมื่อเห็นเส้นใยเจริญดีแล้วจึงเก็บไว้ในตู้เย็นอุณหภูมิ 5 องศาเซลเซียส เพื่อเก็บไว้ใช้ได้ตลอดไป
การตรวจสอบลักษณะเส้นใยเห็ดฟางบนอาหารวุ้น พีดีเอ.
เมื่อแยกเนื้อเยื่อเห็ดฟางบนอาหารวุ้นพีดีเอ. แล้ว จะเห็นเส้นใยเห็ดเจริญราบติดไปกับอาหารวุ้นอย่าง
รวดเร็ว (ภายใน 3-4 วัน) เส้นใยมีลักษณะหยาบๆ เห็นได้ชัดเจน แต่ถ้าเห็นเส้นใยเป็นเส้นเล็ก ขาว ฟู ไม่
ควรนำ มาทำ พันธุ์
หลังจากนี้แล้วประมาณ 5-7 วัน (หลังจากเริ่มแยกเนื้อเยื่อเห็ดฟางลงบนอาหารวุ้น พีดีเอ.) เส้นใยจะ
เปลี่ยนจากสีขาวเป็นสีนํ้าตาลอ่อน ๆ แล้วรวมตัวกันเป็นจุดเล็ก ๆ เห็นได้ชัด แสดงว่าเป็นเชื้อเห็ดที่แข็งแรง
และเกิดดอกอย่างแน่นนอน แต่ถ้าเส้นใยไม่เปลี่ยนสี และไม่รวมตัว แสดงว่าเป็นเชื้ออ่อนแอ เมื่อเลือกได้เชื้อ
เห็ดฟางที่บริสุทธิ์แล้วถือว่าเสร็จสิ้นขั้นตอนการเตรียมเชื้อเห็ดฟางบริสุทธิ์ (ขั้นตอนที่ 1)
การทำ เชื้อเห็ดฟาง 8
2. ขั้นตอนการผลิตเชื้อเห็ดฟาง
2.1 การเตรียมปุ๋ยหมัก (วัสดุหมักสำ หรับปลูกเชื้อเห็ด)
มี 5 สูตรให้เลือกตามความเหมาะสมในแต่ละท้องที่ ดังนี้
สูตร 1
มูลม้า 1 ส่วน
เปลือกเมล็ดบัว 1 ส่วน
วิธีการ
นาํ เปลอื กเมลด็ บวัแชน่ า้ํไว 1 คนื ใหเ้ปลอื กบวัดดู นา้ํจนอมิ่ ตวั แล้วนาํ มาผงึ่ใหห้ มาด ๆ นาํ มาผสมกบั
มูลม้า (บดให้เป็นชิ้นเล็ก ๆ ก่อนใช้) ผสมกันให้ทั่วแล้วหมักไว้ในที่ร่ม ถ้ามีรมแรงให้คลุมกองหมักด้วยผ้า
พลาสติก เมื่อครบ 3 วันก็กลับกองปุ๋ยหมัก แล้วกลับกองปุ๋ยหมักทุกวันจนครบ 15 วัน ถ้าปุ๋ยหมักแห้งให้
พรหมนา้ํ เลก็ นอ้ ยใหพ้ อดี แล้วนาํ ไปใช้ได้
สูตร 2
มูลม้า 1 ส่วน
เปลือกเมล็ดบัว 1 ส่วน
ไส้นุ่น 2-3 ส่วน
วิธีการ
หมักมูลม้ากับเปลือกเมล็ดบัวเหมือนสูตร 1 ก่อนที่จะครบเวลา 3 วันให้แช่ไส้นุ่น ในนํ้าจนอิ่มตัว แล้ว
ผสมกัน หมักต่ออีก 3 วัน กลับกองปุ๋ยหมักทุกวัน จนครบเวลา (15 วัน) ก็นำ ใช้ได้
สูตร 3
มูลม้า 1 ส่วน
ไส้นุ่น 7-10 ส่วน
วิธีการ
แบ่งไส้นุ่นออกเป็น 4 ส่วน ใช้ 3 ส่วนแช่นํ้าจนอิ่มตัวแล้วผสมกับมูลม้าโดยกลับกองทุกวัน หลังจาก
หมักได้ 3 วัน จนครบ 10 วัน ให้เติมใส่นุ่นส่วนที่เหลือผสมให้ทั่ว แล้วหมักต่ออีก 5 วัน ต้องกลับกองปุ๋ยหมัก
ทกุ วัน แล้วนาํ มาใชไ้ด้
การทำ เชื้อเห็ดฟาง 9
สูตร 4
มูลม้า 1 ส่วน
เปลือกเมล็ดฝ้าย 1 ส่วน
ไส้นุ่น 3-5 ส่วน
วิธีการ
หมักเช่นเดียวกับวิธีที่ 2 แต่ใช้เปลือกเมล็ดฝ้ายแทนเปลือกเมล็ดบัว กรรทมวิธีหมักเหมือนกัน ใช้ได้
ผลเหมือนกัน
สูตร 5
มูลม้า 1 ส่วน
เปลือกถั่วเขียว 2 ส่วน
(หรือเปลือกถั่วเหลือง) 2 ส่วน
วิธีการ
แช่เปลือกถั่ว (ใหเ้ลอื กเอาอยา่งใดอยา่งหนงึ่) ในนา้ํ จนอมิ่ ตวัประมาณ 1 คนื แล้วนาํ มาผงึ่ใหห้ มาด ๆ
นำ มาผสมกับมูลม้า แล้วหมักไว้ 3 วันหลังจากนี้ให้กลับกองปุ๋ยหมักทุกวันจนครบ 10 วัน นำ ไส้นุ่นแช่นํ้าจน
อิ่มตัว ผสมลงไปอีก 3 ส่วน ทำ การกลับกองปุ๋ยหมักทุกวัน จนครบ 5 วัน ก็นำ มาใช้ได้
กองปุ๋ยหมักที่ดีนั้นไม่ควรสูงเกิน 1 เมตร จะกองเป็นรูปแบบใดก็ได้ ไม่ควรกองบางเกินไป หมักได้ 3
วัน อุณหภูมิในกองหมักจะสูงขึ้น 45-50 องศาเซลเซียส ถ้าอุณหภูมิไม่สูงก็ใช้ไม่ได้
ลักษณะของปุ๋ยหมักที่ดี ควรมีลักษณะดังนี้
1.! มีสีคลํ้า ร่วนซุย ไม่จับตัวกันเป็นก้อนแน่น
2.! มีฤทธิ์ปานกลาง (ระดับ พีเอช 7.0)
3.! มักลิ่นหอมคล้ายเห็ด ไม่มีกลิ่นเหม็นแอมโมเนีย
4. มีความชื้นที่เหมาะสมประมาณ 60-70 เปอร์เซ็นต์ ทดลองบีบดูแรง ๆ ถ้าไม่มีนํ้าไหลออกมาจาก
ง่ามนิ้วมือ แสงว่าพอดี ถ้าแบบมือออกมาปุ๋ยหมักแตกไม่เป็นก้อน แสดงว่าแห้งเกินไป
5. ไม่มีหนอนและแมลง ในปุ๋ยหมัก ซึ่งเป็นสาเหตุของการเสียของปุ๋ยหมัก
6. เมื่อหมักจนได้ที่แล้ว ไม่ควรเก็บไว้นาน 1 สัปดาห์
ดังนั้นการทำ ปุ๋ยหมักให้มีคุณภาพดีนั้นขึ้นอยู่กับวัสดุที่ใช้ ความชื้นในกอง อุณหภูมิ และการดูแลรักษา
กองปุ๋ยหมัก มีข้อที่น่าสังเกตดังนี้
มูลสัตว์ มูลสัตว์ที่นอยมใช้และใช้ได้ดีคือมูลม้า แต่ก็มีมูลม้า แต่ก็มีมูลสัตว์ชนิดอื่นที่ใช้แทนได้ดี แต่ไม่
ดีเท่ามูลม้า
มูลลา มูลล่อ มูลช้าง ได้ผลดีใกล้เคียงกับมูลม้า
มูลโค มูลกระบือ มูลแพะ ได้ผลแต่ไม่ดีนัก
มูลเป็ด มูลไก่ ไม่ควรใช้
การที่ใช้มูลม้าได้ผลดีกว่ามูลสัตว์ชนิดอื่น เป็นเพราะมีจุลินทรีย์ที่จะช่วยทำ ให้เกิดการหมักซึ่งมีอยู่ใน
มูลม้านั้น สามารถเจริญเติบโตในที่ที่มีอุณหภูมิสูงได้ดี (ประมาณ 60-70 องศาเซลเซียส) ซึ่งในการทำ ปุ๋ย
หมักนั้น อุณหภูมิในกองสูง จึงยิ่งทำ ให้จุลินทรีย์ที่ชอบอุณหภูมิสูงนี้มีจำ นวนมากขึ้นอย่างรวดเร็ว มีผลทำ ให้
การทำ เชื้อเห็ดฟาง 10
เกิดขบวนการหมักรวดเร็วขึ้นและยังทำ ให้จุลินทรีย์ที่ไม่ทนร้อนตายไป เพราะจุลินทรีย์ที่ไม่ทนร้อนนี้จะทำ ให้
เกิดการเน่าเสียในปุ๋ยหมักได้ ดังนั้นการใช้มูลม้าจึงได้ผลดีที่สุด
เปลือกบัวหรือกากเมล็ดฝ้าย ใช้ได้ผลใกล้เคียงกัน แต่กากเมล็ดฝ้ายหาได้ง่าย และราคาถูก เมื่อนำ
กากเมล็ดฝ้ายมาหมักกับมูลม้าก็ใช้เวลาหมักเร็วกว่าด้วย ในปัจจุบันนิยมใช้กากเมล็ดฝ้ายมากที่สุด
ไส้นุ่น ปัจจุบันมีราคาถูก หาง่าย และมีจำ นวนมาก ทั้งในระยะเวลาในการหมัก เร็วกว่าวัสดุอื่น และ
ให้ปุ๋ยหมักมีคุณภาพดีอีกด้วย จึงมีผู้นิยมใช้ประกอบกับขั้นตอนการปฏิบัติก็ง่าย เพียงแต่มาแช่นํ้าให้อิ่มตัว 10
ส่วน ผสมกับมูลม้า 1 ส่วน หลังจากหมักกองไว้ 3 วัน แล้วจึงกลับกองทุวัน ประมาณ 10 วัน ก็นำ มาใช้ได้
เปลือกถั่วเขียวและเปลือกถั่วเหลือง ใช้ได้ดีเหมือนไส้นุ่น แต่ใช้ระยะเวลาในการหมักนานกว่า วิธี
การหมักใช้วิธีการเดียวกับการหมักไส้นุ่น แต่ใช้ระยะเวลานานประมาณ 1 เดือน จึงจะสามารถนำ มาใช้ไห้
และมีข้อระวังในการหมักเปลือกถั่วเขียวหรือเปลือกถั่วเหลือง จะต้องคอยควบคุมความชื้นให้เหมาะสมด้วยจึง
จะได้ผลดี
วัสดุอื่น ๆ ผู้ผลิตเชื้อเห็ดฟางบางราย ต้องการเพิ่มผลผลิตให้มากขึ้น โดยใช้ฟางหั่นละเอียดผสมกับ
ปุ๋ยหมัก ผักตบชวาตากแห้ง ใบพืชและต้นพืชตากแห้งเช่นต้นถั่วถ้าหากมีการใช้มากเกินไปคุณภาพเห็ดจะไม่ดี
เท่าที่ควร บางรายให้อาหารเสริม เช่นรำ ข้าว และปุ๋ยเคมี ก็ควรระวังการสูญเสียได้เหมือนกัน ไม่ควรใช้ปุ๋ย
หมักที่หมักนานเกินไป เพราะปุ๋ยหมักจะแน่นและสูญเสียคุณค่าทางอาหาร สำ หรับเชื้อเห็ด
การฆ่าเชื้อในปุ๋ยหมัก
เมื่อหมักปุ๋ยหมักได้ที่แล้ว ก่อนที่จะปลูกเชื้อเห็ดฟางลงไปจะต้องฆ่าเชื้อจุลินทรีย์และสิ่งมีชีวิตทุกชนิด
ในปุ๋ยหมักให้ตายหมดเสียก่อนจึงปลูกเชื้อเห็ดฟางลงไปได้ ถ้ามิเช่นนั้นแล้ว เส้นใยเห็ดฟางจะเจริญเติบโตสู้เชื้อ
ชนิดอื่นไม้ได้ และทำ ให้ไม้ได้เชื้อเห็ดฟางบริสุทธิ์ จะทำ ให้เกิดการสูญเสียในการเพาะดอกเห็ดอย่างมาก
วิธีการ
- ใส่ปุ๋ยหมักลงไปในถุงพลาสติกทนร้อยขนาด 8*11 เซนติเมตร ถุงละ 200กรัม (2 ขีด) ไม่ควรอัด
ปุ๋ยหมักแน่นจนเกินไป แล้วพับปากถุงเตรียมเข้านึ่งในหม้อนึ่ง
- ถ้าต้องการบรรจุในกระป๋องนมอลูมิเนี่ยม ซึ่งปัจจุบันหายากแล้วให้บรรจุลงในกระป๋องประมาณ 3
ใน 4 ของกระป๋อง ไม่ให้แน่นเกินไป เสร็จแล้วปิดฝากระป๋องพออยู่ ไม่ต้องสนิทหรือแน่นมาก
- การนึ่งฆ่าเชื้อ ถ้ามีหม้อนึ่งความดัน จะใช้เวลาน้อย นำ ภาชนะที่ต้องบรรจุถุงปุ๋ยหมักใส่ลงไป แล้วทำ
การนึ่งตามวิธีการของการใช้หม้อนึ่งความดัน ใช้เวลา 20 นาทีที่ความดัน 15 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว จะได้
อุณหภูมิ 121 องศาเซลเซียส หม้อนึ่งแบบนี้ราคาจะแพง บรรจุได้น้อย แต่ใช้เวลาน้อยกว่าการนึ่งแบบลูกทุ่ง
- การนึ่งฆ่าเชื้อแบบหม้อนึ่งลูกทุ่ง ซึ่งก็ได้ผลเช่น
กัน แต่ใช้เวลานานประมาณ 3-4 ชั่วโมง จึงจะใช้ได้
(ต้องควบคุมเชื้อเพลิงให้สมํ่าเสมอ) หม้อนึ่งราคาถูก
บรรจุ ได้มาก ถ้ามรการผลิตมาก ๆ ควรสร้างหม้อนึ่ง
ขนาดใหญ่ เพราะจะได้ผลผลิตมากขึ้นตามต้อแงการ ซึ่ง
ปัจจุบันมีผู้ผลิตเชื้อเห็ดฟางจำ หน่ายเป็นอาชีพ ได้มีการ
สร้างหม้อนึ่งฆ่าเชื้อปุ๋ยหมักออมาหลายรูปแบบ และได้
ผลดี ยังนำ ไปใช้กับการเพาะเห็ดในถุงพลาสติกได้ด้วย
ซึ่งใช้ได้คุ้มค่ามาก ถ้าผู้ใดสนใจก็หาดูแบบได้ตามฟาร์มเห็ดที่ผลิตเชื้อเห็ดจำ หน่าย
หม้อนึ่งฆ่าเชื้อแบบลูกทุ่ง
การทำ เชื้อเห็ดฟาง 11
1.2!การปลูกเชื้อเห็ดฟางลงบนปุ๋ยหมัก
เมื่อนึ่งฆ่าเชื้อจุลินทรีย์และสิ่งมีชีวิตในปุ๋ยหมักเย็นก่อน จึงนำ มาปลูกเชื้อเห็ดลงไป และบ่มไว้ 5-7 วัน
ก็จะได้หัวเชื้อเห็ดฟางสำ หรับส่งขายหรือนำ ไปเพาะดอกเห็ดได้
วิธีการ
- นำ อุปกรณ์ที่จะใช้ คือ อาหารวุ้น พีดีเอ. ที่มีเส้นใยเห็ดเจริญอยู่เต็มตะเกลียงแอลกอฮอล์ เข็มเชื้อ
แอกอฮอล์ 70% สำ หรับเช็ดมือ ถุงมือหมักถุงปุ๋ยหมักนึ่งฆ่าเชื้อแล้ว ในตู้เขี่ยเชื้อ ซึ่งทำ ความสะอาดไว้แล้ว
- สนปลายเข็มเขี่ยให้ร้อนแดง แล้วผ่านด้ามมือ ให้ถึงมือจับ ปล่อยให้เย็นก่อน จึงใช้นิ้วนางกับนิ้วก้อย
หมุนดึงสำ ลีออก พร้อมกับร้นไฟที่ปากขวด จึงตัดวุ้นที่มีเส้นใยเห็ดเจริญอยู่เต็ม ตัดให้ได้ขนาด 1*1 เซ็นติ
เมตร ใช้เข็มเขี่ยเกี่ยวชิ้นวุ้นออกมา ลนไฟปากขวดอีกครั้ง แล้วจึงปิดสำ ลีที่ปากขวดอาหารวุ้น พรดรเอ. เสีย
ก่อน ต่อจากนั้นจึงเปิดปากถุงปุ๋ยหมัก (มือขวายังคงถือเข็มเขี่ยที่มีวุ้นเชื้อเห็ดอยู่) แล้วางชิ้นส่วนวุ้นลงบนปุ๋ย
หมัก ปิดปากถุงปุ๋ยหมัก (ควรทำ อย่างรวดเร็ว) อาหารวุ้น 1 ขวด ควรใส่ปุ๋ยหมักได้ประมาณ 20-30 ถุง
- บ่มถุงปุ๋ยหมักนี้ไว้ในห้องที่อากาศถ่ายเทได้ อุณหภูมิไม่สูง อย่าให้ถูกแสงแดดและอย่าให้ลมพัดแรง
เกินไป ควรระวังหนู แมลง ซึ่งจะเป็นศัตรูที่พบได้เสมอ
- หลังจากนี้ประมาณ 5-7 วัน เส้นใยเห็ดจะเจริญทั่วถุงปุ๋ยหมักก็นำ ไปขาย หรือเพาะเป็นดอกเห็ดได้
การผลิตเชื้อเห็ดฟางเพื่อจำ หน่ายเป็นจำ นวนมากนั้น นิยมใช้วิธี ต่อเชื้อเห็ด คือหลังจากเสร็จสิ้นขั้น
ตอนการปลูกเชื้อเห็ดฟางลงบนปุ๋ยหมัก (ขั้นตอนที่ 2.2 )ได้เส้นใยเห็ดเจริญเต็มถุงปุ๋ยหมัก ผู้ผลิตก็จะต่อเชื้อ
เห็ดโดยเลือกถุงที่มีเส้นใยลักษณะดี ไม่มีเชื้ออื่นปนเปื้อน (ทำ ในตู้เขี่ยเชื้อ) ใช้ช้อนฆ่าเชื้อก่อน ตักปุ๋ยหมักที่มี
เส้นใยเห็ดฟางนี้ 1 ช้อน ใส่ลงในถุงปุ๋ยหมักใหม่ที่ฆ่าเชื้อแล้ว บ่มไว้ประมาณ 1 อาทิตย์ ก็จะได้เชื้อเห็ดฟาง
สำ หรับนำ มาเพาะดอกเห็ด หรือขายได้
วิธีการต่อเชื้อเห็ด ทำ โดย
- นำ อุปกรณ์ที่จะใช้คือ ช้อนตักเชื้อ ตะเกียงแอลกอฮอล์ ถุงปุ๋ยหมักที่มีเส้นใยเห็ดเจริญเต็มและถุงปุ๋ย
หมักที่ต้องการต่อเชื้อ นำ สิ่งเหล่านี้มาเตรียมพร้อมไว้ในตู้เขี่ยเชื้อ
- นำ ช้อนลนไฟ ปล่อยให้เย็นแล้วตักปุ๋ยหมักที่มีเส้นใยเจริญอยู่เต็มถุงมาใส่ในถุงปุ๋ยหมัก เชื้อเห็ด 1
ถุง สามารถต่อเชื้อเห็ดได้ประมาณ 20-30 ถุง
การตีช่อเชื้อเห็ดนี้ เป็นขั้นตอนลัด เพราะไม่ต้องทำ ขั้นตอนเตรียมอาหารวุ่นพีดีเอ (ขั้นตอนที่ 1.1)
ขั้นตอนการตัดเนื้อเยื่อจากดอกเห็ดลงอาหารวุ้น (ขั้นตอนที่ 1.2) ซึ่งเป็นขั้นตอนที่ทำ ยากและลงทุนสูง เพียง
แต่เตรียมปุ๋ยหมักและต่อเชื้อเห็ดฟางบนปุ๋ยหมัก บ่มไว้ 1 อาทิตย์ ก็ใช้ประโยชน์ได้แล้ว
การทำ เชื้อเห็ดฟาง 12
วิธีการต่อเชื้อเห็ดนี้ ยังใช้ได้ผลดีกับการขนส่งเชื้อเห็ดที่เดินทางไปไกล ๆ และใช้เวลาหลายวัน ซึ่งเชื้อ
เห็ดจะเสียหายได้ จากการบรรจุแบบแออัด ทำ ให้อุณหภูมิสูงจะทำ ให้เชื้อชะงักการเจริญหรือตายไปเลยก็มี ให้
แยกปุ๋ยหมักที่ทำ การนึ่งฆ่าเชื้อแล้ว บรรจุอัดแน่นไปแล้วแยกถุงปุ๋ยที่เชื้อเจริญแล้วบรรจุแบบโปร่งๆ เจาะรู
ระบายอากาศให้บ้าง พอไปถึงจุดหมายก็ต่อเชื้อเห็ดจากถุงใส่ลงถุงปุ๋ยหมักตามวิธีการข้างบนแล้ว บ่มไว้
ประมาณ 5-6 วัน เส้นใยเจริญเต็มถุงก็นำ มาเพาะดอกได้(ควรประมาณระยะเวลาการเจริญของถุงหัวเชื้อให้
พอดีกับการขนส่ง) เพราะทุกวันนี้การเพาะดอกเห็ดของผู้ที่อยู่ไกลจากแหล่งผลิตเชื้อเห็ดได้ผลไม่ดีเท่าที่ควร
อันเนื่องมาจากสาเหตุการขนส่งเชื้อเห็ดด้วย ควรมาใช้วิธีนี้จะได้ผลดีต่อผู้เพาะดอกเห็ดเป็นอย่างมาก
แต่การต่อเชื้อเห็ด หลายๆ ครั้งมีข้อเสีย คือ เส้นใยเห็ดที่ได้นั้นจะไม่แข็งแรงเมื่อนำ มาเพาะเป็นดอก
เห็ด มักได้ผลผลิตตํ่า ส่วนใหญ่เกษตรกรที่ซื้อเชื้อเห็ดฟางมาลงเพาะดอกเห็ดขาย มักจะซื้อได้ที่มีการต่อเชื้อ
เห็ดหลายๆ ครั้งผู้ผลิตเชื้อเห็ดขายควรคำ นึงถึงผู้เพาะดอกเห็ดขายไว้ด้วย ในเรื่องนี้เพื่อผลประโยชน์ทั้งสอง
ฝ่าย
เชื้อเห็ดฟางที่มีลักษณะดี มีวิธีสังเกต คือ
1. เชื้อเห็ดต้องไม่อ่อน หรือไม่แข็งจนเกินไป สีของเส้นใยเห็ดที่ดีจะมีสีขาวเป็นมัน และเจริญแผ่ขยาย
คลุมก้อนปุ๋ยหมักทั้งก้อน และไม่มีการเกิดดอกเห็ดในก้อนปุ๋ยหมัก
-มีกลิ่นหอมคล้ายเห็ด ไม่มีกลิ่นเหม็นแอมโมเนีย
-ไม่มีเชื้อชนิดอื่นเจริญปนเปื้อน
-เมื่อเส้นใยเจริญเต็มถุงแล้วไม่ควรเก็บไว้นานเกิน 10 วัน
-มีลักษณะเป็นกระจุดเล็ก ๆ คล้ายเม็ดสาคู แสดงว่าเชื้อเห็ดไม่เป็นหมัน
-ปุ๋ยหมักไม่เปียกหรือแห้งเกินไป
-ถุงบรรจุต้องไม่มีรอยแตกหรือรูรั่ว
ลักษณะของเชื้อเห็ดฟางที่ไม่ควรนำ ไปใช้
ปัญหาที่พบเสมอในการทำ เชื้อเห็ดฟาง ถ้าพบควรแก้ไข
1. เชื้อเห็ดฟางไม่เดิน
ก.! อาจเนื่องจากการหมักปุ๋ยไม่ได้ที่ มีกลิ่นแอมโมเนีย ซึ่งแอมโมเนียเป็นพิษต่อเห็ด
ข.! หัวเชื้อไม่บริสุทธิ์พออาจมีเชื้อจุลินทรีย์ติดไปด้วย ซึ่งจะทำ ให้เชื้อเห็ดก่อนที่จะเดินลางในปุ๋ย
ค.! การบรรจุปุ๋ยลงในภาชนะแน่นเกินไป จนอากาศภายในปุ๋ยไม่มี
ง. ความชื้นสูงเกินไป เส้นใยจะเดินช้าหรือแทบไม่เดินเลย นอกจากนี้ถ้านึ่งด้วยหม้อนึ่งลูกทุ่ง หากปุ๋ย
มีความชื้นสูงเกินไป มักเสีย เนื่องจากเชื้อบักเตรีเน่าเหม็นก้นถุง
ซ.! บ่มไว้ในที่มีอุณหภูมิตํ่าเกินไป (30-35 C)
2. เชื้อเห็ดเสียเนื่องจากเชื้ออื่นปน
ก. นึ่งไม่ได้ที่ โดยเฉพาะนึ่งด้วยหม้อนึ่งความดันต้องอยู่ในสภาพสูญญากาศจริง ๆ และความดันต้อง
ไม่ตํ่ากว่า 15 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว และนานอย่างน้อย 1-2 ชั่วโมง
ข. ถ้าใช้หม้อนึ่งแบบลูกทุ่ง การเจาะรูอาจจะโตเกินไป หรือใส่เชื้อเพลิงไม่สมํ่าเสมอ
ค. การเขี่ยเชื้อเพลิงไม่ดีพอ หรืออาจจะเนื่องจากสถานที่เขี่ยเป็นที่หมักหมมของเชื้อจุลินทรีย์ต่าง ๆ
มากเกินไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้านึ่งด้วยหม้อนึ่งความดัน มักมีโอกาสเสียมากกว่า
การทำ เชื้อเห็ดฟาง 13
ง. ภาชนะที่บรรจุรั่วหรือซึม
จ. หมักปุ๋ยไม่ได้ที่ ทำ ให้เชื้อจุลินทรีย์บางชนิดเจริญได้ดี เช่น ราร้อน แบคทีเรีย
ฉ. ปุ๋ยหมักละเอียดเกินไปทำ ให้แน่น เวลาบรรจุภาชนะยากต่อการฆ่าเชื้อ ทำ ให้เชื้ออื่นเจริญเติบโต
แทนเชื้อเห็ด
ฌ.! หัวเชื้อไม่บริสุทธิ์
3. เส้นใยเดินแล้วหยุดเดินเพียงบาง ๆ
ก. ปุ๋ยหมักๆ ไม่ได้ที่ มีกลิ่นแอมโมเนียหลงเหลืออยู่ หรือมักเกินกำ หนดทำ ให้อาหารเสื่อม
ข. อุณหภูมิที่บ่มเชื้อตํ่ากว่า 30 องศาเซลเซียส หรือเกิน 40 องศาเซลเซียส
ค. ปุ๋ยหมักบรรจุแน่นเกินไป อากาศไม่มีเชื้อเห็ดจะไม่เจริญ
ง. ปุ๋ยหมักมีส่วนผสมของวัสดุ ที่มีแทนเนินสูงเกินไป เช่น เปลือกเมล็ดบัวหรือขุยมะพร้าว
4.! เส้นใยเห็ดมีจุดขาว ๆ เนื่องจากไข่ไร
แสดงว่าการทำ ตัดต่อจากหัวเชื้อที่มาจากปุ๋ยหมักเหมือนกัน แต่ตัดต่อมากเกินไปจนกระทั่งไรมีโอกาส
เล็ดลอดเข้าไปได ้ หรอื ห้องบม่ เตม็ ไปดว้ยไร ควรฉดี ยาสาํหรบั ฆา่ไรรอบหอ้ งบม่ เชอื้ เชน่ ยาดดี วีพี ี มาลาไธออน
เคลเกน เป็นต้น
5. เส้นใยฟูเฉพาะผิวหน้าปุ๋ย ไม่เดินลงไปในปุ๋ย
ก.! บรรจุปุ๋ยแน่นเกินไปและทำ การหมักไม่ได้ที่
ข.! ลักษณะประจำ พันธุ์ ซึ่งเป็นพันธุ์ออกดอกจำ นวนมาก แต่ผลผลิตตํ่า
ค.! ปุ๋ยหมักเปียกและบ่มเชื้อไว้ในที่มีอุณหภูมิสูงเกินไป (ไม่ควรเกิน 38 องศาเซลเซียส)
6. มีตัวหนอนอยู่บนหลังจากเขี่ยเชื้อ
มักพบเสมอถ้าใช้ถุงที่อุดจุกสำ ลี เมื่อนึ่งแล้วเปียกหรือมีความชื้นสูง ดังนั้นจึงใช้สำ ลีที่ดูดความชื้นได้
เลว หรืออาจใช้ใยสังเคราะห์กันไม่ให้แมลงวันขน ไข่ลงไป เพราะแมลงวันชนิดนี้เมื่อไข่แล้วจะเป็นตัวหนอน
ชอนไชลงไปในถุงเลย หากเป็นมากควรฉีดยาฆ่าแมลงที่มีผลตกค้างน้อยบนจุกสำ ลี เช่น มาลาไธออน เซฟวิน
เป็นต้น
7. เชื้อเห็ดรวมตัวกันเป็นดอกแก่เร็ว
ก. เชื้อเห็ดตัดต่อหลายช่วงเกินไปทำ ให้เชื้อเห็ดอ่อน และรวมตัวกันเป็นดอกเร็วขึ้น ดังนั้นหลังจากเส้น
ใยเห็นเดินเต็มแล้วก็ควรเก็บไว้มนที่เย็น ๆ ไม่ให้ถูกแสงแดดได้ยิ่งดี
ข. เป็นลักษณะประจำ พันธุ์ กล่าวคือ พันธุ์ที่มีปอกหุ้มบ้างมักมีสีขาว เชื้อแก่เร็วมาก
ค. การตัดเนื้อเยื่อเห็ด อาจตัดมาจากเนื้อเยื่อเห็ดที่ไม่สมบูรณ์
เรียบเรียงโดย : อัมพร นันทธีโร
สำ นักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
!!ขั้นตอนการทำ เชื้อเห็ดฟาง
-! ขั้นตอนการเตรียมเชื้อเห็ดฟางบริสุทธิ์
-! การตรวจสอบลักษณะเส้นใยเห็ดฟางบนอาหารวุ้น พีดีเอ.
!!ขั้นตอนการผลิตเชื้อเห็ดฟาง
-! การเตรียมปุ๋ยหมัก
-! การปลูกเชื้อเห็ดฟางลงบนปุ๋ยหมัก
!!เชื้อเห็ดฟางที่มีลักษณะดี
!!ปัญหาที่พบเสมอในการทำ เชื้อเห็ดฟาง
สารบัญ
จดั ทา ํ เอกสารอิเล็กทรอนิกส์โดย :
สำ นักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การทำ เชื้อเห็ดฟาง 2
คำ นำ
เกษตรกรเป็นจำ นวนมากประสบความสำ เร็จในการเพาะดอกเห็ดฟางขาย เนื่องจากมีความรู้และ
ประสบการณ์ที่ถูกต้องและเหมาะสม แต่ก็มีเกษตรกรจำ นวนมากอีกเช่นกัน ที่เพาะเห็ดฟางขายและขาดทุน
สาเหตุใหญ่ที่ทำ ให้ไม่ได้กำ ไรนั้นมักเกิดจากการนำ เชื้อเห็ดฟางคชุณภาพไม่ดีมาเพาะ
การซื้อเชื้อเห็ดคุณภาพดี ไม่มีจุลลินทรีย์อื่นปนเปื้อน ให้ผลผลิตสูง และได้กำ ไรดีนั้น จะเป็นหน้าที่ของ
ผู้เพาะดอกเห็ดต้องจำ เองว่า บริษัทหรือห้างร้านใดที่ผลิตเห็ดคุณภาพดี ก็จะซื้อเชื้อเห็ดฟางจากที่เมมาเพาะอยู่
เป็นประจำ แต่บางครั้งเชื้อเห็ดจากร้านเดียวกันคุณภาพกลับไม่สมํ่าเสมอก็มี ปัญหาเช่นนี้ทำ ให้ผู้เพาะดอกเห็ด
ขายหันมาสนใจที่จะผลิตเชื้อเห็ดฟางเอง ถึงแม้ว่าการทำ เชื้อเห็ดฟางจะต้องใช้เงินทุนสูง ประกอบกับต้องใช้
ความรู้ ประสบการณ์ และความเอาใจใส่เป็นอย่างมาก ถ้าทำ ได้สำ เร็จจะให้ผลตอบแทนสูงกว่าการเพาะดอก
เห็ดขาย
เนื่องจากการทำ เชื้อเห็ดฟางต้องใช้ทุนสูง ดังนั้นก่อนจะตัดสินใจลงทุน ควรจะได้ศึกษาหาความรู้จากผู้
มีประสบการณ์ให้พร้อม ตลอดจนศึกษาเรื่องตลาดและความเป็นไปได้ในการส่งเชื้อเห็ดฟางขายให้ผู้เพาะดอก
เห็ดในละวแกใกล้เคียงด้วย
เพื่อเป็นการสนับสนุนเกษตรกรและผู้สนใจในการเพาะเห็ดฟางจำ หน่ายหรือใช้เองก็ตาม ฝ่ายส่งเสริม
และเผยแพร่จึงได้มอบให้นางอัมพร นันทธีโร เรียบเรียงเอกสารเผยแพร่เรื่อง การทำ เชื้อเห็ดฟางขึ้นเพื่อให้
เกษตรกรและผู้สนใจใช้เป็นแนวทางปฏิบัติ
อย่างไรก็ตาม ผู้ที่นำ ไปใช้ประสบปัญหาอย่างใดแล้ว โปรดจดหมายไปยัง ฝ่ายส่งเสริมและเผยแพร่
สำ นักงานส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน รหัสไปรษณีย์ 10903 ฝ่ายส่งเสริม
และเผยแพร่ ยินดีให้คำ แนะนำ ด้วยความเต็มใจยิ่ง
ท้ายที่สุดนี้ ฝ่ายส่งเสริมและเผยแพร ่ใครข่อขอบพระคณุ อาจารยด์ พี รอ้ม ไชยวงศ์เกียรติ และอาจารย์
สุเทพ ญาดี ที่ได้ตรวจแก้เอกสารเรื่อง "การทำ เชื้อเห็ดฟาง" เล่มนี้
ฝ่ายส่งเสริมและเผยแพร่
สำ นักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน กทม. 10903
การทำ เชื้อเห็ดฟาง 3
การทำ เชื้อเห็ดฟาง
เรียบเรียงโดย… อัมพร นันทธีโร1
ขั้นตอนการทำ เชื้อเห็ดฟาง
การทำ เชื้อเห็ดฟาง ควรปฏิบัติตามขั้นตอน ดังนี้
1. ขั้นตอนการเตรียมเชื้อเห็ดฟางบริสุทธิ์
1.1!เตรียมอาหารวุ้น พีดีเอ.
1.2!ตัดเนื้อเยื่อจากดอกเห็ดลงอาหารวุ้น พีดีเอ.
2. ขั้นตอนการผลิตเชื้อเห็ดฟาง
2.1 การเตรียมปุ๋ยหมัก (วัสดุหมักสำ หรับปลูกเชื้อเห็ด)
2.2 การปลูกเชื้อเห็ดฟ่างลงบนปุ๋ยหมัก
1. ขั้นตอนการเตรียมเชื้อเห็ดฟางบริสุทธิ์
1.1 เตรียมอาหารวุ้น พีดีเอ.
ส่วนผสม
มันฝรั่ง 200 กรัม
นํ้าตาลเด็กซ์โตส (เช่น นํ้าตาลเด็กซ์โตส,
เด็กซ์โตซาน หรือกลูโคลิน 20 กรัม
วุ้นผง 20 กรัม
นํ้าสะอาด 1 ลิตร (1 กิโลกรัม)
วิธีทำ
- ปอกเปลือกมันฝรั่ง ล้างนํ้า แล้วหั่นเป็นชิ้นสี่เหลี่ยมขนาดลูกเต๋า ชั่งนํ้าหนัก 200 กรัม
- ตวงนํ้า 1 ลิตรใส่หม้อ ใส่มันฝรั่งต้มลงไป ต้มให้เดือด เมื่อเดือดแล้วลดไฟลงอย่าให้เดือดพล่าน
ให้จับเวลาตั้งแต่ลดไฟลงนาน 15 นาที แล้วกรองเอาแต่นํ้าต้มมันฝรั่ง
- ละลายวุ้นผงกับนํ้าเย็นเล็กน้อย เทใส่ในหม้อนํ้าต้มมันฝรั่ง แล้วยกตั้งตั้งไฟ คนตลอดเวลานาน
10 นาที (หรือวุ้นละลายหมด)
- ตงนํ้าต้มมันฝรั่งกับวุ้นให้ได้ 1 ลิตร ถ้าขาดไปให้เติมนํ้าร้อนจนครบ
- ยกขึ้นตั้งไฟอ่อนๆ เติมนํ้าตาลลงไป คนให้ละลายแล้วยกลงจากเตา (ไม่ต้องรอให้เดือด) ก็จะให้
อาหารวุ้น พีดีเอ.
- เอาขวดเหล้าแบนที่ล้างจนสะอาดดีและตากแดดให้แห้งดีแล้ว เทอาหารวุ้นพีดีเอ. ลงไปให้สูง
จากก้นขวดประมาณ 1 ใน 6 (ระวังอย่าให้วุ้นเลอะปากขวด)
- พับสำ ลีอุดปากขวด (อย่าพับสำ ลีหลวมหรือแน่นเกินไป)
- ตัดกระดาษเป็นรูปสี่เหลี่ยม ปิดทับสำ ลีอีกทางหนึ่ง แล้วใช้ยางวงรัดไว้
- นำ ไปนึ่งฆ่าเชื้อโรคโดยใช้หม้อนึ่งความดัน
การทำ เชื้อเห็ดฟาง 4
อาหารวุ้น พีดีเอ. ที่กรอกใส่ในขวดเหล้าแบนนี้ จะมีเชื้อจุลินทรีย์และสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ปะปนอยู่มาก
มายหลายชนิด เชื้อจุลินทรีย์และสิ่งมีชีวิตเหล่านี้ไม่สามารถมองเห็นด้วยตา ต่อเมื่อมันเจริญเติบโตแล้วจึงมอง
เห็นสิ่งปนเปื้อนเหล่านี้อยู่บนอาหารวุ้นพีดีเอ. ถ้าไม่ฆ่าเชื้อจุลินทรีย์และสิ่งมีชีวิตเหล่านี้ให้ตายหมดปราศจาก
เชื้อใด ๆ ด้วยหม้อนึ่งความดันในภาพนี้แล้ว การปฏิบัติจะล้มเหลว เพราะเมื่อถึงขั้นตอนตัดเนื้อเยื่อจากดอก
เห็ดลงในอาหารวุ้น พีดีเอ. (ขั้นตอนที่ 1.2) จะมีเชื้ออื่น ๆ เจริญแข่งขันกับเส้นใยเห็ดฟาง จะนำ เชื้อเห็ดฟางนี้
ไปใช้ไม่ได้
วิธีการใช้หม้อนึ่งความดัน
- ใส่นํ้าที่หม้อชั้นในให้ท่วมตระแกรงลวด ประมาณปริ่มหลังมือ (สูงประมาณ 1 ซ.ม. จากก้น)
- เรียงขวดเหล้าแบนที่มีอาหาร พีดีเอ.บรรจุแล้วปิดฝา ดูลูกศรที่ริมฝาให้ตรงกับรอยขีดที่ตัวหม้อ หมุน
น๊อตสำ หรับกดฝาให้แน่นติดตัวหม้อที่ละคู่ โดยเลือกน๊อตที่มีทิศตรงกันข้ามซึ่งกันและกัน หมุนเกลียวน๊อตปิด
ด้วยแรงเท่า ๆ กัน
- ยกขึ้นตั้งไฟแรงเต็มที่ พร้อมกับเปิดลิ้นระบายอากาศเพื่อไล่อากาศภายในหม้อนึ่งออก เมื่อนํ้าเริ่ม
เดือด จะเห็นอากาศพุ่งออกมาพร้อมกับไอนํ้า เสียงดังไม่สมํ่าเสมอกัน แสดงว่าได้ไล่อากาศภายในหม้อนึ่งออก
หมดแล้ว จากนั้นจึงปิดฝาลิ้นระบายอากาศ
- หลังจากปิดฝาลิ้นระบายอากาศแล้ว จะเห็นเข็มวัดความดันเริ่มเคลื่อนให้รอจนเข็มวัดความดันชีไป
ที่เลข 15 หรือมากกว่าเล็กน้อย จึงลดไฟให้เป็นไฟปานกลาง หลังจากลดไฟลงแล้วถ้ายังไม่ปรากฎว่าความดัน
ยังเพิ่มขึ้นอยู่ก็ให้ลดไฟลงอีกได้ โดยให้ความดันคงที่อยู่ที่ 15 หรือมากกว่าเล็กน้อย แล้วจับเวลา 20 นาที จึง
เปิดไฟ ความดันภายในจะลดลงเอง จนถึงเลขศูนย์แล้วปิดฝาหม้อนึ่ง เอาขวดอาหาร พีดีเอ. วางเอียงพิงไม้ ให้
ปากขวดสูงจากพื้น 2-3 เซนติเมตร รอจนวุ่นแข็งกฎนำ มาใช้ได้
จากการตรวจสอบพบว่า ถ้าความดันในหม้อนึ่งวัดได้ 15 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว อุณหภูมิจะร้อนถึง 121
องศาเซลเซียส และถ้าใช้เวลานาน 20 นาที จะสามารถฆ่าเชื้อจุลินทรีย์และสิ่งมีชีวิตในอาหาร พีดีเอ. ให้ตาย
หมด ปราศจากเชื้อใด ๆ เหลืออยู่ ในระหว่างจับเวลาอยู่นี้ หากเข็มวัดความดันตํ่าลงกว่าเลข 15 ต้องเริ่มต้น
ทำ ขั้นตอนแรกอีก ต้องคอยดูแลควบคุมอย่างใกล้ชิดตลอดเวลา
1.2 การแยกเนื้อเยื่อจากดอกเห็ดลงอาหารวุ้น พีดีเอ.
เก็บดอกเห็ดฟางที่ยังตูมอยู่จากแปลงเพาะ เลือกดอกเห็ดลักษณะดีขนาดใหญ่ นํ้าหนักมาก เนื้อ
แน่น อย่าให้มีรอยแมลง และโรคเข้าทำ ลาย
การทำ เชื้อเห็ดฟาง 5
นำ อุปกรณ์ที่ใช้คือ เข็มเขี่ย ตะเกียงแอลกอฮอล์ แอลกอฮอล์ 70% สำ หรับเช็ดมือ, มีด, ดอกเห็ดสด,
อาหารวุ้น พีดีเอ. ในขวดเหล้าแบนที่ฆ่าเชื้อแล้ว
นำ วัสดุและอุปกรณ์ทุกอย่างเข้าไปในตู้เขี่ยเชื้อทำ ความสะอาดภายในตู้แล้ว จะแดพ่นด้วยแอลกอฮอล์
70% หรือใช้แสงอุลตร้าไวโอเลต (ยูวี) ไว้ล่วงหน้าก่อนใช้ประมาณ 30 นาที
วิธีทำ
- เช็ดมือด้วยแอลกอฮล์ 70%
- ก,ข ตัดแต่งดอกเห็ด
- ค เอามีดจุ่มแอลกอฮอล์ 70% ลนไฟ พอมีดเย็นแล้วจึงผ่าดอกเห็ดเล็กน้อย
- ง,จ ใช้มือแดดอกเห็ดออกเป็น 2 ส่วน (แบ่งตามยาวของดอกเห็ด)
มือซ้ายถือดอกเห็ด
- เช็ดมือด้วยแอลกอฮอล์ 70% มือซ้ายจับดอกเห็ด มือขวาหยิบเข็มเขี่ยมาลนไฟจนส่วนที่เป็นเข็ม
ร้อนแดง เลื่อนด้านจับผ่านเปลวไฟจนถึงมือ แล้วปล่อยให้เข็มเย็น (ถือไว้ประมาณ 15 นาที) แล้วใช้เข็มนี้ตัด
การทำ เชื้อเห็ดฟาง 6
เนื้อเยื่อเห็ดโดยตัดตามหมายเลขที่ 1,2,3 4 ตามลำ ดับ ดังในภาพ ใช้เข็มเขี่ยเกี่ยวชิ้นเนื้อเยื่อขึ้นมา เป็นขั้นที่
5
การตัดเนื้อเยื่อจากดอกเห็ด
- วางดอกเห็ดลง แล้วหยิบขวดอาหารเลี้ยงเชื้อ พีดีเอ.ขึ้นมา (ซึ่งดึงยางวงและแกะกระดาษออกเตรียม
ไว้ก่อนแล้ว)
- ใช้นิ้วนางและนิ้วก้อย (มือที่ถือเข็มเขี่ยเชื้อยังไม่มีเนื้อเยื่อเห็ดติดอยู่) หมุนดึงสำ ลีออกจากปากขวด
แล้วลนปากขวดฆ่าเชื้อทันที (ระวังสำ ลีไหม้ไฟ) ค่อย ๆ สอดเข็มเขี่ยเชื้อที่มีเนื้อเยื่อเห็ดเข้าในขวดอาหาร พีดีเอ
- วางเนื้อเยื่อดอกเห็ดบนอาหารวุ้น พีดีเอ ตรงกลางแล้วลนปากขวดอีกครั้ง จึงปิดจุกสำ ลี (ระวังอย่า
ให้เนื้อเยื่อเห็ดถูกปากขวด) จุกสำ ลีต้องไม่สัมผัสส่วนใด ๆ ทั้งสิ้น
- ปิดกระดาษ และรัดด้วยยางวง เก็บไว้นาน 6-7 วันจะเห็นเส้นใยสีขาวเจริญเต็มบนวุ้น พีดีเอ
วางเนื้อเยื่อเห็ดลงบนอาหารวุ้น
ขั้นตอนการตัดเนื้อเยื่อดอกเห็ดบนอาหารวุ้นนี้ จะต้องทำ อย่างระมัดระวังและรวดเร็ว ไม่เช่นนั้นแล้
วจะมีเชื้อจุลินทรีย์อื่น ๆ ปนเปื้อน เชื้อเห็ดฟางได้ มีวิธีการคัดเลือกเส้นในเห็ดฟางที่บริสุทธิ์คือ ภายใน 3-4
วันจะเห็นว่ามีเส้นใยเห็ดเริ่มเจริญรอบ ๆ เนื้อเยื่อเป็นสีขาว แต่ถ้าพบมีเชื้อราหรือแบคทีเรียซึ่งจะเห็นว่ามี
ลักษณะแปลกออกไป เจริญบนผิวหน้าวุ้นด้วย เชื้อเห็ดขวดนั้นถือว่าไม่บริสุทธิ์คือ ไม่ควรนำ ไปใช้ ในการทำ
ครั้งหนึ่ง ๆ ควรทำ ไว้หลาย ๆ ขวด เพื่อโอกาสที่จะได้เชื้อบริสุทธิ์มีมากขึ้น เพราะขั้นตอนนี้ต้องทำ ด้วยความระ
วัดระวังมาก และมักจะมีเชื้อชนิดอื่นขึ้นปนเปื้อนเสมอ เมื่อได้รับเชื้อบริสุทธิ์แล้ว ควรขยายเชื้อเก็บสำ รองไว้
การทำ เชื้อเห็ดฟาง 7
เพื่อใช้ในโอกาสต่อไป โดยการตัดวุ้นที่มีเส้นใยเห็ดจากขวดนี้ไปวางบนอาหารวุ้น พีดีเอ ขวดอื่นแล้วเก็บไว้ 6-
7 วัน เมื่อเห็นเส้นใยเจริญดีแล้วจึงเก็บไว้ในตู้เย็นอุณหภูมิ 5 องศาเซลเซียส เพื่อเก็บไว้ใช้ได้ตลอดไป
การตรวจสอบลักษณะเส้นใยเห็ดฟางบนอาหารวุ้น พีดีเอ.
เมื่อแยกเนื้อเยื่อเห็ดฟางบนอาหารวุ้นพีดีเอ. แล้ว จะเห็นเส้นใยเห็ดเจริญราบติดไปกับอาหารวุ้นอย่าง
รวดเร็ว (ภายใน 3-4 วัน) เส้นใยมีลักษณะหยาบๆ เห็นได้ชัดเจน แต่ถ้าเห็นเส้นใยเป็นเส้นเล็ก ขาว ฟู ไม่
ควรนำ มาทำ พันธุ์
หลังจากนี้แล้วประมาณ 5-7 วัน (หลังจากเริ่มแยกเนื้อเยื่อเห็ดฟางลงบนอาหารวุ้น พีดีเอ.) เส้นใยจะ
เปลี่ยนจากสีขาวเป็นสีนํ้าตาลอ่อน ๆ แล้วรวมตัวกันเป็นจุดเล็ก ๆ เห็นได้ชัด แสดงว่าเป็นเชื้อเห็ดที่แข็งแรง
และเกิดดอกอย่างแน่นนอน แต่ถ้าเส้นใยไม่เปลี่ยนสี และไม่รวมตัว แสดงว่าเป็นเชื้ออ่อนแอ เมื่อเลือกได้เชื้อ
เห็ดฟางที่บริสุทธิ์แล้วถือว่าเสร็จสิ้นขั้นตอนการเตรียมเชื้อเห็ดฟางบริสุทธิ์ (ขั้นตอนที่ 1)
การทำ เชื้อเห็ดฟาง 8
2. ขั้นตอนการผลิตเชื้อเห็ดฟาง
2.1 การเตรียมปุ๋ยหมัก (วัสดุหมักสำ หรับปลูกเชื้อเห็ด)
มี 5 สูตรให้เลือกตามความเหมาะสมในแต่ละท้องที่ ดังนี้
สูตร 1
มูลม้า 1 ส่วน
เปลือกเมล็ดบัว 1 ส่วน
วิธีการ
นาํ เปลอื กเมลด็ บวัแชน่ า้ํไว 1 คนื ใหเ้ปลอื กบวัดดู นา้ํจนอมิ่ ตวั แล้วนาํ มาผงึ่ใหห้ มาด ๆ นาํ มาผสมกบั
มูลม้า (บดให้เป็นชิ้นเล็ก ๆ ก่อนใช้) ผสมกันให้ทั่วแล้วหมักไว้ในที่ร่ม ถ้ามีรมแรงให้คลุมกองหมักด้วยผ้า
พลาสติก เมื่อครบ 3 วันก็กลับกองปุ๋ยหมัก แล้วกลับกองปุ๋ยหมักทุกวันจนครบ 15 วัน ถ้าปุ๋ยหมักแห้งให้
พรหมนา้ํ เลก็ นอ้ ยใหพ้ อดี แล้วนาํ ไปใช้ได้
สูตร 2
มูลม้า 1 ส่วน
เปลือกเมล็ดบัว 1 ส่วน
ไส้นุ่น 2-3 ส่วน
วิธีการ
หมักมูลม้ากับเปลือกเมล็ดบัวเหมือนสูตร 1 ก่อนที่จะครบเวลา 3 วันให้แช่ไส้นุ่น ในนํ้าจนอิ่มตัว แล้ว
ผสมกัน หมักต่ออีก 3 วัน กลับกองปุ๋ยหมักทุกวัน จนครบเวลา (15 วัน) ก็นำ ใช้ได้
สูตร 3
มูลม้า 1 ส่วน
ไส้นุ่น 7-10 ส่วน
วิธีการ
แบ่งไส้นุ่นออกเป็น 4 ส่วน ใช้ 3 ส่วนแช่นํ้าจนอิ่มตัวแล้วผสมกับมูลม้าโดยกลับกองทุกวัน หลังจาก
หมักได้ 3 วัน จนครบ 10 วัน ให้เติมใส่นุ่นส่วนที่เหลือผสมให้ทั่ว แล้วหมักต่ออีก 5 วัน ต้องกลับกองปุ๋ยหมัก
ทกุ วัน แล้วนาํ มาใชไ้ด้
การทำ เชื้อเห็ดฟาง 9
สูตร 4
มูลม้า 1 ส่วน
เปลือกเมล็ดฝ้าย 1 ส่วน
ไส้นุ่น 3-5 ส่วน
วิธีการ
หมักเช่นเดียวกับวิธีที่ 2 แต่ใช้เปลือกเมล็ดฝ้ายแทนเปลือกเมล็ดบัว กรรทมวิธีหมักเหมือนกัน ใช้ได้
ผลเหมือนกัน
สูตร 5
มูลม้า 1 ส่วน
เปลือกถั่วเขียว 2 ส่วน
(หรือเปลือกถั่วเหลือง) 2 ส่วน
วิธีการ
แช่เปลือกถั่ว (ใหเ้ลอื กเอาอยา่งใดอยา่งหนงึ่) ในนา้ํ จนอมิ่ ตวัประมาณ 1 คนื แล้วนาํ มาผงึ่ใหห้ มาด ๆ
นำ มาผสมกับมูลม้า แล้วหมักไว้ 3 วันหลังจากนี้ให้กลับกองปุ๋ยหมักทุกวันจนครบ 10 วัน นำ ไส้นุ่นแช่นํ้าจน
อิ่มตัว ผสมลงไปอีก 3 ส่วน ทำ การกลับกองปุ๋ยหมักทุกวัน จนครบ 5 วัน ก็นำ มาใช้ได้
กองปุ๋ยหมักที่ดีนั้นไม่ควรสูงเกิน 1 เมตร จะกองเป็นรูปแบบใดก็ได้ ไม่ควรกองบางเกินไป หมักได้ 3
วัน อุณหภูมิในกองหมักจะสูงขึ้น 45-50 องศาเซลเซียส ถ้าอุณหภูมิไม่สูงก็ใช้ไม่ได้
ลักษณะของปุ๋ยหมักที่ดี ควรมีลักษณะดังนี้
1.! มีสีคลํ้า ร่วนซุย ไม่จับตัวกันเป็นก้อนแน่น
2.! มีฤทธิ์ปานกลาง (ระดับ พีเอช 7.0)
3.! มักลิ่นหอมคล้ายเห็ด ไม่มีกลิ่นเหม็นแอมโมเนีย
4. มีความชื้นที่เหมาะสมประมาณ 60-70 เปอร์เซ็นต์ ทดลองบีบดูแรง ๆ ถ้าไม่มีนํ้าไหลออกมาจาก
ง่ามนิ้วมือ แสงว่าพอดี ถ้าแบบมือออกมาปุ๋ยหมักแตกไม่เป็นก้อน แสดงว่าแห้งเกินไป
5. ไม่มีหนอนและแมลง ในปุ๋ยหมัก ซึ่งเป็นสาเหตุของการเสียของปุ๋ยหมัก
6. เมื่อหมักจนได้ที่แล้ว ไม่ควรเก็บไว้นาน 1 สัปดาห์
ดังนั้นการทำ ปุ๋ยหมักให้มีคุณภาพดีนั้นขึ้นอยู่กับวัสดุที่ใช้ ความชื้นในกอง อุณหภูมิ และการดูแลรักษา
กองปุ๋ยหมัก มีข้อที่น่าสังเกตดังนี้
มูลสัตว์ มูลสัตว์ที่นอยมใช้และใช้ได้ดีคือมูลม้า แต่ก็มีมูลม้า แต่ก็มีมูลสัตว์ชนิดอื่นที่ใช้แทนได้ดี แต่ไม่
ดีเท่ามูลม้า
มูลลา มูลล่อ มูลช้าง ได้ผลดีใกล้เคียงกับมูลม้า
มูลโค มูลกระบือ มูลแพะ ได้ผลแต่ไม่ดีนัก
มูลเป็ด มูลไก่ ไม่ควรใช้
การที่ใช้มูลม้าได้ผลดีกว่ามูลสัตว์ชนิดอื่น เป็นเพราะมีจุลินทรีย์ที่จะช่วยทำ ให้เกิดการหมักซึ่งมีอยู่ใน
มูลม้านั้น สามารถเจริญเติบโตในที่ที่มีอุณหภูมิสูงได้ดี (ประมาณ 60-70 องศาเซลเซียส) ซึ่งในการทำ ปุ๋ย
หมักนั้น อุณหภูมิในกองสูง จึงยิ่งทำ ให้จุลินทรีย์ที่ชอบอุณหภูมิสูงนี้มีจำ นวนมากขึ้นอย่างรวดเร็ว มีผลทำ ให้
การทำ เชื้อเห็ดฟาง 10
เกิดขบวนการหมักรวดเร็วขึ้นและยังทำ ให้จุลินทรีย์ที่ไม่ทนร้อนตายไป เพราะจุลินทรีย์ที่ไม่ทนร้อนนี้จะทำ ให้
เกิดการเน่าเสียในปุ๋ยหมักได้ ดังนั้นการใช้มูลม้าจึงได้ผลดีที่สุด
เปลือกบัวหรือกากเมล็ดฝ้าย ใช้ได้ผลใกล้เคียงกัน แต่กากเมล็ดฝ้ายหาได้ง่าย และราคาถูก เมื่อนำ
กากเมล็ดฝ้ายมาหมักกับมูลม้าก็ใช้เวลาหมักเร็วกว่าด้วย ในปัจจุบันนิยมใช้กากเมล็ดฝ้ายมากที่สุด
ไส้นุ่น ปัจจุบันมีราคาถูก หาง่าย และมีจำ นวนมาก ทั้งในระยะเวลาในการหมัก เร็วกว่าวัสดุอื่น และ
ให้ปุ๋ยหมักมีคุณภาพดีอีกด้วย จึงมีผู้นิยมใช้ประกอบกับขั้นตอนการปฏิบัติก็ง่าย เพียงแต่มาแช่นํ้าให้อิ่มตัว 10
ส่วน ผสมกับมูลม้า 1 ส่วน หลังจากหมักกองไว้ 3 วัน แล้วจึงกลับกองทุวัน ประมาณ 10 วัน ก็นำ มาใช้ได้
เปลือกถั่วเขียวและเปลือกถั่วเหลือง ใช้ได้ดีเหมือนไส้นุ่น แต่ใช้ระยะเวลาในการหมักนานกว่า วิธี
การหมักใช้วิธีการเดียวกับการหมักไส้นุ่น แต่ใช้ระยะเวลานานประมาณ 1 เดือน จึงจะสามารถนำ มาใช้ไห้
และมีข้อระวังในการหมักเปลือกถั่วเขียวหรือเปลือกถั่วเหลือง จะต้องคอยควบคุมความชื้นให้เหมาะสมด้วยจึง
จะได้ผลดี
วัสดุอื่น ๆ ผู้ผลิตเชื้อเห็ดฟางบางราย ต้องการเพิ่มผลผลิตให้มากขึ้น โดยใช้ฟางหั่นละเอียดผสมกับ
ปุ๋ยหมัก ผักตบชวาตากแห้ง ใบพืชและต้นพืชตากแห้งเช่นต้นถั่วถ้าหากมีการใช้มากเกินไปคุณภาพเห็ดจะไม่ดี
เท่าที่ควร บางรายให้อาหารเสริม เช่นรำ ข้าว และปุ๋ยเคมี ก็ควรระวังการสูญเสียได้เหมือนกัน ไม่ควรใช้ปุ๋ย
หมักที่หมักนานเกินไป เพราะปุ๋ยหมักจะแน่นและสูญเสียคุณค่าทางอาหาร สำ หรับเชื้อเห็ด
การฆ่าเชื้อในปุ๋ยหมัก
เมื่อหมักปุ๋ยหมักได้ที่แล้ว ก่อนที่จะปลูกเชื้อเห็ดฟางลงไปจะต้องฆ่าเชื้อจุลินทรีย์และสิ่งมีชีวิตทุกชนิด
ในปุ๋ยหมักให้ตายหมดเสียก่อนจึงปลูกเชื้อเห็ดฟางลงไปได้ ถ้ามิเช่นนั้นแล้ว เส้นใยเห็ดฟางจะเจริญเติบโตสู้เชื้อ
ชนิดอื่นไม้ได้ และทำ ให้ไม้ได้เชื้อเห็ดฟางบริสุทธิ์ จะทำ ให้เกิดการสูญเสียในการเพาะดอกเห็ดอย่างมาก
วิธีการ
- ใส่ปุ๋ยหมักลงไปในถุงพลาสติกทนร้อยขนาด 8*11 เซนติเมตร ถุงละ 200กรัม (2 ขีด) ไม่ควรอัด
ปุ๋ยหมักแน่นจนเกินไป แล้วพับปากถุงเตรียมเข้านึ่งในหม้อนึ่ง
- ถ้าต้องการบรรจุในกระป๋องนมอลูมิเนี่ยม ซึ่งปัจจุบันหายากแล้วให้บรรจุลงในกระป๋องประมาณ 3
ใน 4 ของกระป๋อง ไม่ให้แน่นเกินไป เสร็จแล้วปิดฝากระป๋องพออยู่ ไม่ต้องสนิทหรือแน่นมาก
- การนึ่งฆ่าเชื้อ ถ้ามีหม้อนึ่งความดัน จะใช้เวลาน้อย นำ ภาชนะที่ต้องบรรจุถุงปุ๋ยหมักใส่ลงไป แล้วทำ
การนึ่งตามวิธีการของการใช้หม้อนึ่งความดัน ใช้เวลา 20 นาทีที่ความดัน 15 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว จะได้
อุณหภูมิ 121 องศาเซลเซียส หม้อนึ่งแบบนี้ราคาจะแพง บรรจุได้น้อย แต่ใช้เวลาน้อยกว่าการนึ่งแบบลูกทุ่ง
- การนึ่งฆ่าเชื้อแบบหม้อนึ่งลูกทุ่ง ซึ่งก็ได้ผลเช่น
กัน แต่ใช้เวลานานประมาณ 3-4 ชั่วโมง จึงจะใช้ได้
(ต้องควบคุมเชื้อเพลิงให้สมํ่าเสมอ) หม้อนึ่งราคาถูก
บรรจุ ได้มาก ถ้ามรการผลิตมาก ๆ ควรสร้างหม้อนึ่ง
ขนาดใหญ่ เพราะจะได้ผลผลิตมากขึ้นตามต้อแงการ ซึ่ง
ปัจจุบันมีผู้ผลิตเชื้อเห็ดฟางจำ หน่ายเป็นอาชีพ ได้มีการ
สร้างหม้อนึ่งฆ่าเชื้อปุ๋ยหมักออมาหลายรูปแบบ และได้
ผลดี ยังนำ ไปใช้กับการเพาะเห็ดในถุงพลาสติกได้ด้วย
ซึ่งใช้ได้คุ้มค่ามาก ถ้าผู้ใดสนใจก็หาดูแบบได้ตามฟาร์มเห็ดที่ผลิตเชื้อเห็ดจำ หน่าย
หม้อนึ่งฆ่าเชื้อแบบลูกทุ่ง
การทำ เชื้อเห็ดฟาง 11
1.2!การปลูกเชื้อเห็ดฟางลงบนปุ๋ยหมัก
เมื่อนึ่งฆ่าเชื้อจุลินทรีย์และสิ่งมีชีวิตในปุ๋ยหมักเย็นก่อน จึงนำ มาปลูกเชื้อเห็ดลงไป และบ่มไว้ 5-7 วัน
ก็จะได้หัวเชื้อเห็ดฟางสำ หรับส่งขายหรือนำ ไปเพาะดอกเห็ดได้
วิธีการ
- นำ อุปกรณ์ที่จะใช้ คือ อาหารวุ้น พีดีเอ. ที่มีเส้นใยเห็ดเจริญอยู่เต็มตะเกลียงแอลกอฮอล์ เข็มเชื้อ
แอกอฮอล์ 70% สำ หรับเช็ดมือ ถุงมือหมักถุงปุ๋ยหมักนึ่งฆ่าเชื้อแล้ว ในตู้เขี่ยเชื้อ ซึ่งทำ ความสะอาดไว้แล้ว
- สนปลายเข็มเขี่ยให้ร้อนแดง แล้วผ่านด้ามมือ ให้ถึงมือจับ ปล่อยให้เย็นก่อน จึงใช้นิ้วนางกับนิ้วก้อย
หมุนดึงสำ ลีออก พร้อมกับร้นไฟที่ปากขวด จึงตัดวุ้นที่มีเส้นใยเห็ดเจริญอยู่เต็ม ตัดให้ได้ขนาด 1*1 เซ็นติ
เมตร ใช้เข็มเขี่ยเกี่ยวชิ้นวุ้นออกมา ลนไฟปากขวดอีกครั้ง แล้วจึงปิดสำ ลีที่ปากขวดอาหารวุ้น พรดรเอ. เสีย
ก่อน ต่อจากนั้นจึงเปิดปากถุงปุ๋ยหมัก (มือขวายังคงถือเข็มเขี่ยที่มีวุ้นเชื้อเห็ดอยู่) แล้วางชิ้นส่วนวุ้นลงบนปุ๋ย
หมัก ปิดปากถุงปุ๋ยหมัก (ควรทำ อย่างรวดเร็ว) อาหารวุ้น 1 ขวด ควรใส่ปุ๋ยหมักได้ประมาณ 20-30 ถุง
- บ่มถุงปุ๋ยหมักนี้ไว้ในห้องที่อากาศถ่ายเทได้ อุณหภูมิไม่สูง อย่าให้ถูกแสงแดดและอย่าให้ลมพัดแรง
เกินไป ควรระวังหนู แมลง ซึ่งจะเป็นศัตรูที่พบได้เสมอ
- หลังจากนี้ประมาณ 5-7 วัน เส้นใยเห็ดจะเจริญทั่วถุงปุ๋ยหมักก็นำ ไปขาย หรือเพาะเป็นดอกเห็ดได้
การผลิตเชื้อเห็ดฟางเพื่อจำ หน่ายเป็นจำ นวนมากนั้น นิยมใช้วิธี ต่อเชื้อเห็ด คือหลังจากเสร็จสิ้นขั้น
ตอนการปลูกเชื้อเห็ดฟางลงบนปุ๋ยหมัก (ขั้นตอนที่ 2.2 )ได้เส้นใยเห็ดเจริญเต็มถุงปุ๋ยหมัก ผู้ผลิตก็จะต่อเชื้อ
เห็ดโดยเลือกถุงที่มีเส้นใยลักษณะดี ไม่มีเชื้ออื่นปนเปื้อน (ทำ ในตู้เขี่ยเชื้อ) ใช้ช้อนฆ่าเชื้อก่อน ตักปุ๋ยหมักที่มี
เส้นใยเห็ดฟางนี้ 1 ช้อน ใส่ลงในถุงปุ๋ยหมักใหม่ที่ฆ่าเชื้อแล้ว บ่มไว้ประมาณ 1 อาทิตย์ ก็จะได้เชื้อเห็ดฟาง
สำ หรับนำ มาเพาะดอกเห็ด หรือขายได้
วิธีการต่อเชื้อเห็ด ทำ โดย
- นำ อุปกรณ์ที่จะใช้คือ ช้อนตักเชื้อ ตะเกียงแอลกอฮอล์ ถุงปุ๋ยหมักที่มีเส้นใยเห็ดเจริญเต็มและถุงปุ๋ย
หมักที่ต้องการต่อเชื้อ นำ สิ่งเหล่านี้มาเตรียมพร้อมไว้ในตู้เขี่ยเชื้อ
- นำ ช้อนลนไฟ ปล่อยให้เย็นแล้วตักปุ๋ยหมักที่มีเส้นใยเจริญอยู่เต็มถุงมาใส่ในถุงปุ๋ยหมัก เชื้อเห็ด 1
ถุง สามารถต่อเชื้อเห็ดได้ประมาณ 20-30 ถุง
การตีช่อเชื้อเห็ดนี้ เป็นขั้นตอนลัด เพราะไม่ต้องทำ ขั้นตอนเตรียมอาหารวุ่นพีดีเอ (ขั้นตอนที่ 1.1)
ขั้นตอนการตัดเนื้อเยื่อจากดอกเห็ดลงอาหารวุ้น (ขั้นตอนที่ 1.2) ซึ่งเป็นขั้นตอนที่ทำ ยากและลงทุนสูง เพียง
แต่เตรียมปุ๋ยหมักและต่อเชื้อเห็ดฟางบนปุ๋ยหมัก บ่มไว้ 1 อาทิตย์ ก็ใช้ประโยชน์ได้แล้ว
การทำ เชื้อเห็ดฟาง 12
วิธีการต่อเชื้อเห็ดนี้ ยังใช้ได้ผลดีกับการขนส่งเชื้อเห็ดที่เดินทางไปไกล ๆ และใช้เวลาหลายวัน ซึ่งเชื้อ
เห็ดจะเสียหายได้ จากการบรรจุแบบแออัด ทำ ให้อุณหภูมิสูงจะทำ ให้เชื้อชะงักการเจริญหรือตายไปเลยก็มี ให้
แยกปุ๋ยหมักที่ทำ การนึ่งฆ่าเชื้อแล้ว บรรจุอัดแน่นไปแล้วแยกถุงปุ๋ยที่เชื้อเจริญแล้วบรรจุแบบโปร่งๆ เจาะรู
ระบายอากาศให้บ้าง พอไปถึงจุดหมายก็ต่อเชื้อเห็ดจากถุงใส่ลงถุงปุ๋ยหมักตามวิธีการข้างบนแล้ว บ่มไว้
ประมาณ 5-6 วัน เส้นใยเจริญเต็มถุงก็นำ มาเพาะดอกได้(ควรประมาณระยะเวลาการเจริญของถุงหัวเชื้อให้
พอดีกับการขนส่ง) เพราะทุกวันนี้การเพาะดอกเห็ดของผู้ที่อยู่ไกลจากแหล่งผลิตเชื้อเห็ดได้ผลไม่ดีเท่าที่ควร
อันเนื่องมาจากสาเหตุการขนส่งเชื้อเห็ดด้วย ควรมาใช้วิธีนี้จะได้ผลดีต่อผู้เพาะดอกเห็ดเป็นอย่างมาก
แต่การต่อเชื้อเห็ด หลายๆ ครั้งมีข้อเสีย คือ เส้นใยเห็ดที่ได้นั้นจะไม่แข็งแรงเมื่อนำ มาเพาะเป็นดอก
เห็ด มักได้ผลผลิตตํ่า ส่วนใหญ่เกษตรกรที่ซื้อเชื้อเห็ดฟางมาลงเพาะดอกเห็ดขาย มักจะซื้อได้ที่มีการต่อเชื้อ
เห็ดหลายๆ ครั้งผู้ผลิตเชื้อเห็ดขายควรคำ นึงถึงผู้เพาะดอกเห็ดขายไว้ด้วย ในเรื่องนี้เพื่อผลประโยชน์ทั้งสอง
ฝ่าย
เชื้อเห็ดฟางที่มีลักษณะดี มีวิธีสังเกต คือ
1. เชื้อเห็ดต้องไม่อ่อน หรือไม่แข็งจนเกินไป สีของเส้นใยเห็ดที่ดีจะมีสีขาวเป็นมัน และเจริญแผ่ขยาย
คลุมก้อนปุ๋ยหมักทั้งก้อน และไม่มีการเกิดดอกเห็ดในก้อนปุ๋ยหมัก
-มีกลิ่นหอมคล้ายเห็ด ไม่มีกลิ่นเหม็นแอมโมเนีย
-ไม่มีเชื้อชนิดอื่นเจริญปนเปื้อน
-เมื่อเส้นใยเจริญเต็มถุงแล้วไม่ควรเก็บไว้นานเกิน 10 วัน
-มีลักษณะเป็นกระจุดเล็ก ๆ คล้ายเม็ดสาคู แสดงว่าเชื้อเห็ดไม่เป็นหมัน
-ปุ๋ยหมักไม่เปียกหรือแห้งเกินไป
-ถุงบรรจุต้องไม่มีรอยแตกหรือรูรั่ว
ลักษณะของเชื้อเห็ดฟางที่ไม่ควรนำ ไปใช้
ปัญหาที่พบเสมอในการทำ เชื้อเห็ดฟาง ถ้าพบควรแก้ไข
1. เชื้อเห็ดฟางไม่เดิน
ก.! อาจเนื่องจากการหมักปุ๋ยไม่ได้ที่ มีกลิ่นแอมโมเนีย ซึ่งแอมโมเนียเป็นพิษต่อเห็ด
ข.! หัวเชื้อไม่บริสุทธิ์พออาจมีเชื้อจุลินทรีย์ติดไปด้วย ซึ่งจะทำ ให้เชื้อเห็ดก่อนที่จะเดินลางในปุ๋ย
ค.! การบรรจุปุ๋ยลงในภาชนะแน่นเกินไป จนอากาศภายในปุ๋ยไม่มี
ง. ความชื้นสูงเกินไป เส้นใยจะเดินช้าหรือแทบไม่เดินเลย นอกจากนี้ถ้านึ่งด้วยหม้อนึ่งลูกทุ่ง หากปุ๋ย
มีความชื้นสูงเกินไป มักเสีย เนื่องจากเชื้อบักเตรีเน่าเหม็นก้นถุง
ซ.! บ่มไว้ในที่มีอุณหภูมิตํ่าเกินไป (30-35 C)
2. เชื้อเห็ดเสียเนื่องจากเชื้ออื่นปน
ก. นึ่งไม่ได้ที่ โดยเฉพาะนึ่งด้วยหม้อนึ่งความดันต้องอยู่ในสภาพสูญญากาศจริง ๆ และความดันต้อง
ไม่ตํ่ากว่า 15 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว และนานอย่างน้อย 1-2 ชั่วโมง
ข. ถ้าใช้หม้อนึ่งแบบลูกทุ่ง การเจาะรูอาจจะโตเกินไป หรือใส่เชื้อเพลิงไม่สมํ่าเสมอ
ค. การเขี่ยเชื้อเพลิงไม่ดีพอ หรืออาจจะเนื่องจากสถานที่เขี่ยเป็นที่หมักหมมของเชื้อจุลินทรีย์ต่าง ๆ
มากเกินไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้านึ่งด้วยหม้อนึ่งความดัน มักมีโอกาสเสียมากกว่า
การทำ เชื้อเห็ดฟาง 13
ง. ภาชนะที่บรรจุรั่วหรือซึม
จ. หมักปุ๋ยไม่ได้ที่ ทำ ให้เชื้อจุลินทรีย์บางชนิดเจริญได้ดี เช่น ราร้อน แบคทีเรีย
ฉ. ปุ๋ยหมักละเอียดเกินไปทำ ให้แน่น เวลาบรรจุภาชนะยากต่อการฆ่าเชื้อ ทำ ให้เชื้ออื่นเจริญเติบโต
แทนเชื้อเห็ด
ฌ.! หัวเชื้อไม่บริสุทธิ์
3. เส้นใยเดินแล้วหยุดเดินเพียงบาง ๆ
ก. ปุ๋ยหมักๆ ไม่ได้ที่ มีกลิ่นแอมโมเนียหลงเหลืออยู่ หรือมักเกินกำ หนดทำ ให้อาหารเสื่อม
ข. อุณหภูมิที่บ่มเชื้อตํ่ากว่า 30 องศาเซลเซียส หรือเกิน 40 องศาเซลเซียส
ค. ปุ๋ยหมักบรรจุแน่นเกินไป อากาศไม่มีเชื้อเห็ดจะไม่เจริญ
ง. ปุ๋ยหมักมีส่วนผสมของวัสดุ ที่มีแทนเนินสูงเกินไป เช่น เปลือกเมล็ดบัวหรือขุยมะพร้าว
4.! เส้นใยเห็ดมีจุดขาว ๆ เนื่องจากไข่ไร
แสดงว่าการทำ ตัดต่อจากหัวเชื้อที่มาจากปุ๋ยหมักเหมือนกัน แต่ตัดต่อมากเกินไปจนกระทั่งไรมีโอกาส
เล็ดลอดเข้าไปได ้ หรอื ห้องบม่ เตม็ ไปดว้ยไร ควรฉดี ยาสาํหรบั ฆา่ไรรอบหอ้ งบม่ เชอื้ เชน่ ยาดดี วีพี ี มาลาไธออน
เคลเกน เป็นต้น
5. เส้นใยฟูเฉพาะผิวหน้าปุ๋ย ไม่เดินลงไปในปุ๋ย
ก.! บรรจุปุ๋ยแน่นเกินไปและทำ การหมักไม่ได้ที่
ข.! ลักษณะประจำ พันธุ์ ซึ่งเป็นพันธุ์ออกดอกจำ นวนมาก แต่ผลผลิตตํ่า
ค.! ปุ๋ยหมักเปียกและบ่มเชื้อไว้ในที่มีอุณหภูมิสูงเกินไป (ไม่ควรเกิน 38 องศาเซลเซียส)
6. มีตัวหนอนอยู่บนหลังจากเขี่ยเชื้อ
มักพบเสมอถ้าใช้ถุงที่อุดจุกสำ ลี เมื่อนึ่งแล้วเปียกหรือมีความชื้นสูง ดังนั้นจึงใช้สำ ลีที่ดูดความชื้นได้
เลว หรืออาจใช้ใยสังเคราะห์กันไม่ให้แมลงวันขน ไข่ลงไป เพราะแมลงวันชนิดนี้เมื่อไข่แล้วจะเป็นตัวหนอน
ชอนไชลงไปในถุงเลย หากเป็นมากควรฉีดยาฆ่าแมลงที่มีผลตกค้างน้อยบนจุกสำ ลี เช่น มาลาไธออน เซฟวิน
เป็นต้น
7. เชื้อเห็ดรวมตัวกันเป็นดอกแก่เร็ว
ก. เชื้อเห็ดตัดต่อหลายช่วงเกินไปทำ ให้เชื้อเห็ดอ่อน และรวมตัวกันเป็นดอกเร็วขึ้น ดังนั้นหลังจากเส้น
ใยเห็นเดินเต็มแล้วก็ควรเก็บไว้มนที่เย็น ๆ ไม่ให้ถูกแสงแดดได้ยิ่งดี
ข. เป็นลักษณะประจำ พันธุ์ กล่าวคือ พันธุ์ที่มีปอกหุ้มบ้างมักมีสีขาว เชื้อแก่เร็วมาก
ค. การตัดเนื้อเยื่อเห็ด อาจตัดมาจากเนื้อเยื่อเห็ดที่ไม่สมบูรณ์
ที่มา : http://mushroomfarn.blogspot.com/2013/06/blog-post_26.html